เครื่องรัดกล่องกึ่งอัตโนมัติ

เครื่องรัดกล่องกึ่งอัตโนมัติ
ดูในมุมมอง ตาราง รายการ

3 รายการ

ตั้งค่าเรียงจากน้อยไปมาก
ต่อหน้า
  1. เครื่องรัดกล่อง รุ่น TP-202L

    เครื่องรัดกล่องไต้หวัน TRANSPAK ทรงเตี้ย รุ่น TP-202L

    • รัดได้นิ่มนวลกว่ารุ่นอื่นๆ
    • รัดกล่องได้ขนาด 6 cm. ขึ้นไป
    • เครื่องทรงเตี้ย เหมาะสำหรับกล่องขนาดใหญ่
    • ปรับความแน่นได้ 5-60 kgs.
    • ใช้กับสายรัด ขนาด 9-15 mm.
    • ได้รับมาตรฐาน CE
    • รับประกัน 1 ปี
    ฿27,000.00
  2. เครื่องรัดกล่อง รุ่น TP-202

    เครื่องรัดกล่องไต้หวัน TRANSPAK ทรงโปร่ง รุ่น TP-202

    • รัดได้นิ่มนวลกว่ารุ่นอื่นๆ
    • รัดกล่องได้ขนาด 6 cm. ขึ้นไป
    • เครื่องทรงโปร่ง เปลี่ยนสายรัดพลาสติกได้ง่ายกว่า
    • ปรับความแน่นได้ 5-60 kgs.
    • ใช้กับสายรัด ขนาด 9-15 mm.
    • ได้รับมาตรฐาน CE
    • รับประกัน 1 ปี
    ฿27,000.00
  3. เครื่องรัดกล่อง รุ่น TP-201

    เครื่องรัดกล่องไต้หวัน TRANSPAK ทรงทึบ รุ่น TP-201

    • รัดได้นิ่มนวลกว่ารุ่นอื่นๆ
    • รัดกล่องได้ขนาด 6 cm. ขึ้นไป
    • เครื่องทรงทึบ แข็งแรงรับน้ำหนักได้ดี
    • ปรับความแน่นได้ 5-60 kgs.
    • ใช้กับสายรัด ขนาด 9-15 mm.
    • ได้รับมาตรฐาน CE
    • รับประกัน 1 ปี
    ฿27,000.00
ดูในมุมมอง ตาราง รายการ

3 รายการ

ตั้งค่าเรียงจากน้อยไปมาก
ต่อหน้า

เครื่องรัดกล่องกึ่งอัตโนมัติ

เครื่องรัดกล่องกึ่งอัตโนมัติคือเครื่องจักรที่ช่วยให้การรัด หรือการแพ็ครวมสินค้าสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็น รัดกล่อง รัดไม้ รัดท่อ รัดชิ้นงานต่างๆ เป็นต้น เครื่องรัดแบบกึ่งอัตโนมัตินั้นยังจำเป็นต้องมีแรงงานคนคอยป้อนสายรัดพลาสติกเพื่อให้เครื่องทำการรัด ซึ่งต่างจากเครื่องรัดแบบอัตโนมัติที่ไม่จำเป็นต้องใช้แรงงานคนเลย จะใช้เป็นระบบสายพาน และระบบเซนเซอร์แทน

หลักการทำงานของเครื่องรัดกล่องกึ่งอัตโนมัติคือ ผู้ใช้งานจะต้องป้อนสายรัดพลาสติกเข้าไปในเครื่อง หลังจากนั้นเครื่องจะรัดตามแรงดึงที่ตั้งไว้ และเชื่อมสายรัดให้ติดกันพร้อมกับตัดสายรัด หลังจากนั้นเครื่องจะฟีดสายรัดออกมาตามที่เราตั้งความยาวไว้เพื่อให้เหมาะกับขนาดของกล่อง เพื่อทำการรัดครั้งต่อไป

ระบบการทำงานของเครื่องรัดกึ่งอัตโนมัติ จะมีหลักๆอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบ 1 มอเตอร์(ระบบเก่า) และระบบ 2 มอเตอร์ (ระบบใหม่) ข้อแตกต่างระหว่าง 2 ระบบนี้คือ ระบบ 1 มอเตอร์ จะส่งกำลังจากมอเตอร์ตัวเดียว ซึ่งต้องทำงานสแตนบายอยู่ตลอด (ตั้งเวลาให้หยุดได้) ผ่านสายพาน และพูเล่เพื่อขับเครื่องการทำงานของระบบต่างๆของเครื่อง ทำให้ต้องมีอุปกรณ์ และอะไหล่ค่อนข้างเยอะและซับซ้อน ส่วนระบบ 2 มอเตอร์ จะใช้มอเตอร์ 2 ตัว ทำงานแยกกันระหว่างควบคุมระบบการดึงสายรัด กับระบบตัด และมอเตอร์จะทำงานเฉพาะตอนที่มีการรัดเท่านั้น จึงทำให้ระบบ  2 มอเตอร์ ประหยัดไฟกว่า และด้วยอะไหล่ และอุปกรณ์น้อยกว่าทำให้การดูแลบำรุงรักษาทำงานได้กว่าระบบ  1 มอเตอร์